New Ebooks

The latest ebooks added to the E-Library

2500 Years of Buddhism

The book gives a short account of Buddhism in the last 2500 years. The foreword for the book was written by Dr. Radhakrishnan, world renowned philosopher. The book contains 16 chapters and about one hundred articles written by eminent Buddhist scholars from India, China, Japan, Sri Lanka, Nepal. The spirit of Buddha comes alive in the book and enlightens the readers with his teaching so essential now for peace in the strife-torn world.

คนไทย ใช่กบเฒ่า เถรวาท กับ ลัทธิอาจารย์

คำว่า "วิถีเถรวาท" ซึ่งเป็นคำที่ความหมายพื้นฐานที่สุด ของพุทธศาสนาถูกตีความผิดเพี้ยน สร้างความสับสนให้เกิดขึ้น.....

งานกับเกลือ

ธรรมเทศนา เรื่อง "งานกับเกลือ" เป็นการแสดงธรรมแก่ญาติโยมผู้เข้าร่วมปฏิบัติธรรมที่สวนโมกขลานานาชาติ....

หน้าที่ของคน เพื่อความเป็นอยู่เย็นเป็นสุขของทุกชีวิต

คนเรานอกจากมีหน้าที่ต้องบริโภค บริหารและพักผ่อน ให้พอดีแก่ความต้องการของร่างกายเพื่อให้ร่างกาย แข็งแรงสมบูรณ์แล้ว ยังต้องรู้จักให้ร่างกายนั้นให้เป็นประโยชน์..............

ปฎิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน

พระพุทธเจ้าตรัสว่า ธรรมะเป็นอกาลิโก ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดเวลาแสดงว่าไม่ว่่าบุคคลนั้นจะกำลังทำอะไร จะอยู่ที่ไหนเป็นเวลาของการปฏิบัติได้......

เพาะปัญญา

หนังสือ เพาะปัญญา เป็นหนังสือที่รวบรวมธรรมเทศนาของพระอาจารย์ชยสาโร ว่าด้วยการศึกษาวิถีพุทธ........

พุทธอุทาน จากพระสุตตันตปิฎก ขุกทกนิกายอุทาน

ครั้นเมื่อพระองค์ทรงกำจัดพญามาร พร้อมทั้งเหล่า เสนามารได้แล้ว ด้วยอานุภาพของพระบารมีทั้ง 10 ประการ.....

ผู้รักดีมีความสุข

ทุกคนในโลก ไม่ว่าจะยากจนหรือว่าร่ำรวยจนล้นฟ้า ก็ล้วนแ่ต่มีความปรารถนาที่จะเป็นคนดี ด้วยกันทั้งนั้น การที่จะเป็นผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้รักดีหรือคนดีนั้น ไม่ใช่เป็นสิ่งยาก แต่ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะกระทำได้ง่ายๆ เช่นกัน.....

สรณะ

คงเป็นไม่ได้ที่ทุกคนจะรักกัน แต่ทุกคน ก็งดเว้นจากการเบียดเบียนกันได้....

สิ่งที่ดีทีุ่สุดสำหรับลูก

หนังสือ เรื่อง สิ่งที่ดีที่สุดสำหรับลูก เป็นธรรมเทศนาที่พระอาจารย์ ชยสาโร เมตตาให้แก่ผู้ปกครอง คณะครูและญาติโยม ทั่วไป ที่โรงเรียนทอสี....

สดชื่น แจ่มใส

ในโลกนี้ชีวิตที่มีความสุข สดชื่น และแจ่มใส ได้อยู่ตลอดเวลานั้น เพราะเป็นชีวิตที่ดำเนินอยู่บนเส้นทางแห่งพระธรรมะที่พระพุทธองค์ทรงค้นพบ...

ทาน ทำอย่างไรจึงจะได้บุญมาก

คำว่า "ทาน" แปลว่า ให้ แล้วคำว่า จาคะนี้แปลว่า สละ คำว่าบริจาคนี้มันให้ออกไปเสียให้หมดไปเสียให้หมด.....

ชีวิต คือ การท้าทาย

ชีวิต คือ การท้าทาย คำ่ว่าในโลกที่เป็นจริง เป็นสำนวนที่เรามักจะได้ยินบ่อยๆ แต่ปัญหาก็อยู่ที่ว่า เรารู้จักโลกที่ีเป็นจริงนั้นจริงหรือ

หลับตาทำไม การฝึกสติ เจริญสติและพัฒนาปัญญา

หนังสือเล่มนี้รวบรวมคำสอนของพระอาจารย์ ชยสาโร ที่เน้นเรื่อง การฝึกสติ เจริญสมาธิ และพัฒนา ปัญญา....

Why ไหว้

การกราบมีหลายลีลา สวยงามก็มี ดูไม่ค่อยได้ก็มี อาตมาเคยอยู่วัดป่านานาชาติหลายปีเห็นมาเยอะ เชี่ยวชาญพอสมควรที่จริงสำหรับอาตมา.....

เคล็ดลับดับทุกข์

หนังสือ เคล็ดลับดับทุกข์ เล่มนี้ เป็นวิธีระงับความทุกข์ที่ข้าพเจ้าได้ศึกษาค้นคว้าในกายยาววา หนาคืบเป็นเวลา 30 ปีกว่าแล้ว รู้สึกว่าระงับดับทุกข์ได้.....

ธรรมะภาคปฏิบัติ

ในทางโลกมนุษย์ได้พัฒนาสุตมยปัญญา และจินตมยปัญญาให้กับตนเองปัญญาประเภทนี้ เหมาะที่จะใช้เป็นเครื่องมือแ้ก้ปัญหาของสังคมและยังใช้สร้างสิ่งของเครื่องใช้หลากหลาย ให้กับสมาชิกของสังคม.....

อีคิวกับผู้สูงอายุ

ทุกคนที่เกิดมาเป็นมนุษย์ ต่างปรารถนามีความเป็นอยู่ดีแล้ว ชีวิตมีความสุขทั้งสอง ความปรารถนาจะสำเร็จได้ต้องทำด้วยตัวเอง.....

พุทธวัจน์

สุตตันตะเหล่าใด ที่เป็นคำของตถาคต เป็นข้อความลึก ความหมายซึ้ง เป็นชั้นโลกุตตระว่าเฉพาะเรื่องสุญญตา....

ดูรู้....หนึ่งพรรษา

เรื่องราวที่จะได้อ่านต่อไปนี้เป็นเรื่องราวที่กล่าวถึงผู้เขียน ซึ่งเป็นคนหนึ่ง ที่มีความสนใจในพระพุทธศาสนา เขาเริ่มออกเดิดทางและพยายามตามหาิสิ่งที่เรียกว่า "ธรรม"

สติปฏิฐาน 4เส้นทางตรงสู่พระนิพพาน

หนังสือ สติปฏิฐาน 4 เส้นทางตรงสู่พระนิพพาน นี้รวบรวมจากการถอดเทปคำบรรยายเรื่อง สาระธรรมจากพระสุตตันตปิฏก ที่อบรมคนรู้ใจ ณ ห้องพุทธคยา

กลยุทธ์ รักษาจิต

การจะเริ่มต้นฝึกหรืออบรมจิตใจ ก็เป็นธรรมดาที่จะต้องใช้เวลาขัดเกลา กล่อมเกลาจิตใจ ตลอดชีวิตที่ผ่านมา ผ่านไปเลย ปล่อยให้ใจไหลไปในอารมณ์ที่วุ่นวาย....

หนึ่งในร้อย

สังคมไทยในยุค "โลกาภิวัฒน์" (ประชาชนตกเป็นทาสของความโลภ) เต็มไปด้วยความขัดแย้งแตกความสามัคคี ประชาชนทั่วทุกภาคแบ่งออกเป็นสามฝ่าย.....

มหาสติปัฏฐานสูตร

สติปัฎฐานนั้นเป็น "10 กายมรรค" เป็นหนทางเเดียวที่ตัดตรงสู่นิพพาน ซึ่งพระพุทธเจ้าผู้เป็นศาสดาเอกของโลก ทรงประกาศไว้อย่างละเอียดและแจ่มแจ้งแล้วในมหาสิตปัฎฐานสูตร.....

มหัศจรรย์ แห่งจิต

ชะตาชีวิต เปรียบเทียบแผนที่กำหนดวิถิชีวิต ที่แต่ละคนได้วางไว้ด้วยการกระทำของตัวเอง ไม่มีแม้พรหม หรือผู้อื่นใด สามารถลิขิต แผนการเดินของชีวิตให้กับใครผู้ใดได้แท้จริง....

เตือนสติผู้ปฏิบัติะรรม และการเจริญสติปัฎฐาน

การปฏิบัติธรรม จำเป็นต้องมีสัมมนาทิฎฐิเพื่อ ให้เดินตามรอยองค์พระศาสดาเป็นไปอย่างตรงทาง ตรงธรรม....

โพชฌงค์ และพลธรรม 5 ประการ

ในเบื้องต้นก็ควรจะทำความเข้าใจคำว่า "โพชฌงค์" คำว่า "โพชฌงค์" นั้นก็หมายความว่า เป็นองค์ธรรม แห่งญาณ หรือปลุกใจ......

กระโถน-กระถาง

ชีวิตเป็นของไม่ยั่งยืน แต่ความจริงของชีวิต เป็นสิ่งที่ไม่ตาย เข้าถึงความจริงของชีวิตมากเท่าไหร่ ก็ห่างไกลออกจากความตายมากเท่านั้น....

กัลยาณี แห่งราชสกุลมหิดล

สมเด็จพระเจ้าี่พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระธิดาพระองค์แรก และพระองค์เดียวในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก......

กุลเชษฐ์ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเป็นสมเด็จพระโสทรเชษฐภคนีของพระมหากษัตริย์ 2 พระองค์......

อธิษฐานบารมี

ผู้ใดปรารถนาความสำเร็ในสิ่งดีงามใด จำเป็นต้องทำเครื่องหมายจับจองล่วงหน้า คื อต้องสร้างโปรแกรมความปรารถนาให้จิตได้บันทึกและจดจำได้ โปรแกรมที่กล่าวถึงนี้คือ "อธิษฐาน"

อาณาจักรแห่งปัญญา

อาณาจักรแห่งปัญญา เป็นบันทึก การสนทนาธรรมระหว่างพระอาจารย์ ชยสาโร และคณะศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 4414 ซึ่งมากราบนมัสการพระอาจารย์ที่บ้านไร่ทอสี.......

6 พระสูตร

หนังสือหกพระสูตรนี้ไม่ใช่ หนังสือวิชาการเต็มตัว (จะได้ครึ่งตัว ก็ยังไม่แน่ใจ) อาตมามาจากประเทศด้อยพัฒนา (ทางพระพุทธศาสนา) แล้วมาบวชในวัดป่า มีการศึกษาน้อยแต่รักพระสูตรมา และปรารถนาให้คนอื่นได้สนใจพระสูตรบ้าง....

สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงฯ ในดวงใจราษฎร์

ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน พระกรณียกิจทั้งปวงเป็นที่ประจักษื แก่ประชาชนชาวไทย ทุกผู้ทุกนาม โดยการเฝ้าคอยชมข่าวพระกรณียกิจ ที่มีการนำมาถ่ายทอดสู่ประชาชนทั่วทุกภาค ของประเทศ

What the Buddha Taught

Here is an exposition of Buddhism conceived in a resolutely modern spirit by one of the most qualifies and enlightened representatives of that religion. The Rev. Dr. W. Rahula received the traditional training and education of a Buddhist monk in Ceylon, and held eminent positions in one of the leading monastic institutes (Pirivena) in that island, where the Law of the Buddha flourishes from the time of Asoka and has preserved all its vitality up to this day.

สนทนาภาษาธรรม เล่ม 6-9

ชมรมกัลยาณธรรม ก่อตั้งตามปฏิปทาของท่านอาจารย์ ดร.สนอง วรอุไร เพื่อนำเสนอ เผยแพร่ธรรมะของพระพุทธองค์ให้มีธรรมเป็นสรณะ ถอดถอนวิชาให้โลกสงบเย็น คอลัมน์ "สนทนาภาษาธรรม" จากเว็บไซต์กัลยาธรรม ได้รับความเมตตาจากท่านอาจารย์ ตอบปัญญา ธรรมแก่สาธุชน .....

สนทนาภาษาธรรม เล่ม 1-5

ชมรมกัลยาณธรรม ก่อตั้งตามปฏิปทาของท่านอาจารย์ ดร.สนอง วรอุไร เพื่อนำเสนอ เผยแพร่ธรรมะของพระพุทธองค์ให้มีธรรมเป็นสรณะ ถอดถอนวิชาให้โลกสงบเย็น คอลัมน์ "สนทนาภาษาธรรม" จากเว็บไซต์กัลยาธรรม ได้รับความเมตตาจากท่านอาจารย์ ตอบปัญญา ธรรมแก่สาธุชน .....

อริยทรัพย์ 7 อย่าง

หนังสือเล่มนี้จะเกิดขึ้นได้ ก็เพราะว่าคนเราทั้งหลายส่วนมากยังไม่ได้ศึกษาไม่เข้าใจ
ในอริยทรัพย์ภายในจะเข้าใจแต่ทรัพย์ภายนอก จึงเป็นเหตุที่ทำให้เราปฏิบัติตนเองยัง
ไม่สมบูรณ์ในการดำเนินวิถีชีวิต

เรียนธรรมคู่ ู เืพื่อเรียนรู้ธรรมหนึ่ง

หนังสือเล่มนี้ เกิดจาการถอดความธรรมเทศนาบางเรื่อง ซึ่งอาตมาได้แสดงไวด้ ณ สวนสันติธรรมในช่วงเืดือน กุมภาพันธ์-มีนาคม 2551 เนื้อหาของหนังสือเล่มนนี้ได้กล่าวถึง การเจริญวิปัสสนาอันเป็น การเรียนรู้สภาวธรรม คือ รูปนาม ซึ่งล้วนแต่เป็นธรรมคู่ที่แปรปรวนที่เกิดแล้ว ก็มีกันคู่กันอยู่เสมอ....

วิสัยธรรม เพื่อเบิกนำวิสัยทัศน์

ปัจจุบันี้ คนที่เรียกตัวเองว่าเป็นชาวพุทธโดยมาก เหมือนเป็นคนมีมีหลัก ดังจะมีลัทธิว่า ชาวพุทธเป็นคนอิสระเสรี จะเชื่อถือหรือประพฤติ ตัวอย่างไรก้ได้

วินัยชาวพุทธ

ปัจจุบันี้ คนที่เรียกตัวเองว่าเป็นชาวพุทธโดยมาก เหมือนเป็นคนมีมีหลัก ดังจะมีลัทธิว่า ชาวพุทธเป็นคนอิสระเสรี จะเชื่อถือหรือประพฤติ ตัวอย่างไรก้ได้

สร้างวาสนา-เพิ่มค่าให้อายุ

คนไทยเราชอบพูดว่าวาสนานี้แข่งกันไม่ได้ แต่พระบอกว่าให้แก้ไขวาสนาให้เราปรับปรุงวาสนาเพราะมันอยู่ที่ตัวเรา ที่สร้างมันขี้นมา...

ิวินัย เรื่องใหญ่กว่าที่คิด

เป็นที่ทราบกันดีว่า ความขาดวินัยเป็นปัญหาใหญ่ของสังคมไทย ขณะนี้เราต้องการสร้างสรรค์ประชาธิปไตย และวินัยก็เป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งของประชาธิปไตย

เจาะหาความจริง เรื่องศาสนาประจำชาติ

ย้อนหลังไป 13 ปีก่อนโน้นในพ.ศ. 2537 มีเหตุการณ์อย่างหนึ่งคล้ายกับขณะนี้ (พ.ศ.2550) ที่มีการ่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ คือ ช่วงเวลาแ่ห่งการร่างรัฐธรรมนูยแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 เหมือนเวลาที่มีการเรียกร้องให้บัญญัติในรัฐธรรมนูญว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ

พระไตรปิฎก สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้

พระไตรปิฎก คือคัมภีร์ที่คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หรือพระธรรมวินัย สถิตอยู่คำว่า "ติฎก" ในภาษาบาลี แปลว่า "ตะกร้า 3 ใบ" ที่บรรจุคำสอน หมายถึง หลักคำสอนหมวดใหญ่ 3 หมวด...

ทุกข์สำหรับเห็น แต่สุขสำหรับเป็น (แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา)

พระไตรปิฎก เป็นคัมภีร์ชั้นต้นหรือชั้นหนึ่งของพระพุทธศาสนา ซึ่งถือว่าบรรจุพุทธพจน์เพียงแค่คัมภรีืชั้นหนึ่งนี้ก็มากมายตั้ง 45 เล่ม หรือที่พูดกันว่า 84,00 พระธรรมขันธ์เราจะจับแก่นได้อย่างไร แก่นแท้อยู่ตรงไหน และความคิดความเห็นเกี่ยวกับเรื่องตัวแก่แแท้นั้นจะตรงกันหรือไม่

คุณบิดา มารดา สุดพรรณนามหาศาล

พ่อแม่นั้นมีอุปการคุณแก่เรามากมาย ในทางพระพุทธศาสนาท่านบรรยายไว้นานัปการ แม้กวีทั้งหลายก็ได้เขียนบรรยายกันไว้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด......

ภัยแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

พระคุณเจ้าพระธรรมปิฎก ถึง "ภัยของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย" ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งเพราะเกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศไทย และความสงบสุขของคนไทย ถ้าภาวะของพุทธศาสนาในประเทศไทย เปลี่ยนแปลงไปจะเกิดผลกระทบอันเลวร้ายต่อคนทุกคนที่อยู่ในประเทศไทย
ไม่ว่าเขาจะนับถือศาสนาใดก็ตามเพราะประเทศจะไม่มีความสงบสุข

เรื่องเหนือสามัญวิสัย อิทธิปาฎิหาริย์ เทวดา

ถ้าถามว่า ในทัศนะของพระพุทธศาสนาอิทธิปาฎิหาริย์ เทวดาก็ดี เทวดาหรือเทพเจ้าต่างๆ ก็ดีมีจริงหรือไม่ และคำตอบตามหลักฐานในคัมภีร์มีพระไตรปิฎก เป็นต้น โดยถือตามตัวอักษร ก็ต้องตอบว่า "มี".....

มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัฒน์

หนังสือ มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัฒน์ นี้เกิดจากคำบรรยายแก่คณะนักศึกษา ปริญญาโท สาขาศาสนาเปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่วัดญาณเทศกวัน เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2540 โดยผู้บรรยายพูดถึงเรื่อง ทัศนะต่อศาสนาอื่น หรือความต่างศาสนาไม่ควารเป็นสาเหตุให้เกิดการเบียดเบียน ทำร้ายกัน คือไม่ควรก่อปัญหาแก่สันติภาพหากควรทำให้คนอยู่ร่วมกันด้วยดี มีเมตตาไมตรีต่อกัน...

ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา

ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนาเป็นเรื่องของสิ่งที่เรารู้จักกันดีแล้ว อยู่ๆ เราก็มาพิจารณากันว่าสิ่งที่เรารู้จักดีอยู่แล้ว ซึ่งรู้จักกันดีมาก รู้จักตั้งแต่เกิดกันมานี้ มีลักษณะอย่างไร...

นิติศาสตร์แนวพุทธ

การดำเนินการปกครองหรือเป็นผู้นำประเทศชาติได้นั้ แน่นอนว่าจะต้องมีระเบียบแบบแผน คือเราต้องมีเครื่องมือที่จะใช้เป็นกติกาสังคม การปกครองจะเป็นไม่ได้ถ้าไม่มีกฎเกณฑ์ กติกา อย่างน้อยต้องรู้ว่าจะทำอะไร ได้หรือไม่ได้ ในขอบเขตแค่ไหน การปกครองจึกเรียกร้องให้มีกฎเกณฑ์กติกาเกิดขึ้น....

จาริกบุญ-จารึกธรรม

หนังสือ จาริกบุญ-จารึกธรรม นี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากการเดินทางและแสดงธรรมกถาในการจาริก นมัสการสังเวชนียสถานในแดนพุทธภูมิ คือ ชาตสถาน, อภิสัมพุทธสถาน, ธัมมจักกัปปวัตตนสถาน และ ปรินิพพานสถาน.....

คู่มือชีวิต

การศึกษาอยู่ในกิจกรรมทุกอย่างของชีวิต นี่เองจึงบอกว่า ตั้งแต่เกิดมาเราก็ต้องเริ่มการศึกษาแล้วเพื่อจะให้ชีวิตเป็นอยู่ด้วยดี....

สลายความขัดแย้ง

ความขัดแย้งนั้นในแง่หนึ่งก็เป็นเรื่องธรรมดา คือมันเป็นธรรมชาติของสิ่งทั้งหลายที่แต่ละแห่งมีความเป็นไปของมัน เมื่อต่างอยู่ต่างส่วนเป็นไปคนละทาง ก็ย่อมขัดแย้งกัน...

พุทธธรรม

พุทธธรรม (ฉบับเดิม) นี้เป็นตำราที่ทรงคุณค่าที่สุดในปัจจุบันซึ่งท่านสามารถเลือกที่จะศึกษาส่วนใดส่วนหนึ่ง ตามแต่อุปนิสัยโดยไม่จำเป็นต้องอ่านตั้งแต่ต้น เหมือนอย่างตำราทั่วไปเนื้อหาของตำราเล่มนี้ถูกจัดไว้เป็นอย่าง...........

พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ 21

เ้มื่อสงครามเย็น (Cold War) สิ้นสุดลงความตึงเครียดและภัยที่น่ากลัวจากการเผชิญหน้าของมหาำอำนาจ 2 ฝ่าย ในโลกที่แบ่งกันเป็น 2 ค่าย ก็ดูเหมือนจะสิ้นสุดลงไปด้วยพร้อมกับศตวรรษที่ 20 ก็จะสิ้นสุดลง...

เชื่อกรรม-รู้กรรม-แก้กรรม

ในความเข้าใจของคนไทยทั่วๆ ไป หรือแม้แต่จำกัดเฉพาะในหมู่พุทธศาสนิกชนพอพูดถึงความ "กรรม" ก็จนเกิดความเข้าใจในความคิดของแต่ละท่านไม่เหมือนกันแล้ว กรรมในแง่ของคนทั่วๆไปอาจจะมีความหมายอย่างหนึ่งและกรรมในความหมายของ
นักศึกษาชั้นสูงก็อาจจะเป็นไปอีกอย่างหนึ่งไม่ตรงกันแท้ทีเดียว

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

พจนานุกรมพุทธศา่สตร์ ฉบับประมวลธรรมมีความเป็นมาที่ยาวนาน ผ่านการจัดปรับเนื้อหาชั้นตอน จนลงตัวมีรูปเล่มและชื่อปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ 2515 โดยมีเนื้อหา เป็น 3 ภาค คือ
1. ภาค 1 พจนานกรมพุทธศาสตร์ หมวดธรรม
2. ภาค 2 พจนานุกรมพุทธศาสตร์ หมวดไทย - อังกฤษ
3. ภาค 3 พจนานุกรมพุทธศาสตร์ หมวดอังกฤษ -ไทย

ครั้งหนึ่งใต้ร่มกาสวพัสตร์

มนุษย์เกิดมาเพื่ออะไร เืพื่อใช้ชีวิตอยู่อย่างมีความสุขไปวันหนึ่งหรือ หรือมีอะไรมากกว่านั้น คนเราถ้ามองไปข้างหน้า อาจพบคนที่มีเงินทองฐานะชื่อเสียงมากกว่าตน ทำให้เกิดความต้องการในสิ่งเหล่านั้น พยายามทุกวิถีทางเพื่อจะได้มา แต่เมื่อได้มาแล้วก็ยังคงมีคนที่มีมากกว่าเราอีกเสมอ เท่าไรถึงจะพอแก่ความต้องการของเรา....

มรณานุสติ

หนังสือ เรื่อง "มรณานุสติ" เล่มนี้ไ้ด้จัดพิมพ์ขึ้นสำหรับบุคคลผู้ใฝ่ใจในการปฏิบัติซึ่งจะมีค่าสูงสุด หากบุคคลนั้นได้เจริญ "มรณานุสติ" ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาทในชีวิตคิดจะทำกิจอันใด เช่นจะทำบุญกุศลก็รีบทำบุญ จะรักษาศีล ก็รับรักษาศีล....

เมตตาธรรมค้ำจุนโลก

พวกเราทั้งหลายที่ได้มาเกิดเป็นมนุษย์นั้นจะบริสุทธิ์ได้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ก็อาศัยที่ได้สร้างสม
อบรมบารมีมานั้นอย่างหนึ่งร่างกายกายาจึงสมบูรณ์ทั้งหญิงทั้งชายเกิดมาแล้วจะอยู่ด้วย
อย่างร่มเย็นสูขครบถ้วนหน้ากันในโลกนี้ ก็จะต้องเป็นมีเมตตาต่อกัน

ทุกชีวิต...เป็นเช่นนั้นเอง

สิ่งทั้งหลาย เกิดจากเหตุ เหตุมันอยู่ที่ตัวเราเอง ทำเอง...อยากเป็นทุกข์ ก็ทำเหตุให้มันเกิดทุกข์ อยากจะฉิบหาย....ก็ทำเหตุ ให้มันฉิบหาย เล่นการพนัน เที่ยวกลางคืน คบเพื่อนชั่ว สนุกสนานในทางสิ้นเปลือง เงินทองไม่เท่าใด ก็ได้จำนำนา จำนำ สวน ฉิบหาย ทำเอ....อยากได้อะไรก็ทำเอง....

ขันติ-ความอดทน

ขันติ คือความอดทน เป็นหนทางที่ให้บรรลุผล ไปถึงจุดหมายปลายทางที่บุคคลที่พึงปรารถนาตั้งไว้ได้ เหตุฉะนั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงอยากให้พวกเราท่านทั้งหลาย เป้นผู้มีขันติ ความอดทน อดกลั้น ทนทาน เป็นตบะของนักปฏิบัติอันจะได้บรรลุผล คุณความดีที่เราต้องการให้เกิดให้มีขึ้นแ่ก่ตนเองได้

แก่นธรรมคำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล

หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้พวกเราเห็นความจริงว่า คำสอน เรื่องการดูจิตของหลวงปู่ดูลย์นั้น มีความหมายและวิธีการอย่างไร ลงกันได้พอดีกับคำสอนของพระพุทธเจ้าตามนัยแห่งพระสูตรและอภิธรรมอย่างไร

จิตภาวนา

การฝึกฝนอบรมจิตใจ เป็นสิ่งที่สำคัญ พวกเรานั้นเป็นนักแสวงบุญเพื่อสร้างสมอบรมบารมีเป็นกุศลที่่เกิดขึ้นได้ในตน ในเบื้องต้นทำทานการกุศล ก็เป็นบุญชนิดหนึ่ง รักษาศีล ก้เป็นบุญชนิดหนึ่ง เจริญภาวนา ฝึกฝนทางจิตใจให้สงบก็เป็นบุญ ชนิดหนึ่ง ใช้สติปัญญาขัดเกลา เพื่อให้หมดจากดวงใจ ก็เป็นบุญกุศลยิ่งใหญ่

ความอิ่มใจ

เนื้อหาในเล่มเป็นการบรรยายแก่พระภิกษุผู้จำพรรษาในสวนโมกข์ แนะนำ ให้รู้จักวิธีหาอาหาร วิญญาณ หรือวิธีทำให้เป็นสุข พร้อมทั้งชี้ให้เห็นว่าหากสามารถทำใจให้เป็นสุข หรือให้เิอิบอิ่มได้ ก็จะสามารถเข้าถึงเป้าหมายสูงสุดของพุทธศาสนาได้ไม่ยาก

กุญแจส่งความรู้แจ้ง

จริงๆ แล้ว หัวใจหรือสิ่งที่เป็นกุญแจของปฏิบัติที่จะเราไปสู่ความเข้าใจเปิดประตูของความเข้าใจในธรรมะนั้น คือ ความรู้สึกตัว ไม่ว่าเราจะปฏิบัติด้วยกรรมฐานชนิดใด ก็ต้องทำด้วยความรู้สึกตัว ถ้าขาดความรู้สึกตัวเสียอย่างเดียวก็ไม่มีวันบรรลุมรรคผลนิพพานได้

ศึกษาวิธีเจริญสติด้วยภาษาต่างๆ

ศาสนาพุทธสนให้ชาวโลกบำเพ็ญประโยชน์ตน และประโยชน์ท่าน ด้วยการไม่ทำความชั่ว ทำความดี และทำใจให้ผ่องใส คือการอบรมจิตด้วยการเจริญสติระลึก รู้ตามความเป็นจริง โดยปกติมนุษย์มักอยู่กับความคิด คิดไปในอดีต หรือคิดไปในอนาคต ไม่มีเราอยู่ในปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้ ทำให้จิตใจเราเศร้าหมอง เพราะการยึดติดอยู่กับสิ่งเหล่านั้น ฉะนั้นการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานก็เป็นอีกหนทางหนึ่งที่สามารถคลายจิตใจอันเศร้าหมองเหล่านั้นได้

ชวนม่วนชื่่น ธรรมะบันเทิงหลายเรื่องเล่า จาก Opening the Door of Your Heart

ชีวิตคนเราเปรียบเสมือนเรื่องราวมากมายที่ประสานสัมพันธ์ ถักทอไว้ด้วยกัน ดังนั้นนิทานจึงสามารถสื่อความจริงของชีวิตได้ดีทฤษฎี หรือ ปรัชญาล้วนๆ คนเราจึงยอมฟังนิทาน

แสงธรรมสู่โยนกนคร 1 ชีวประวัติ ปณิธาน พระอาจารย์ทองสุข ฐิตสีโล

หนังสือเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาในการจัดตั้ง ศูนย์ปฎิบัติวิปัสสนากรรมฐาน วัดถ้ำพระผางาม พร้อมทั้งประวัติชีวิต และปฏิปทาของอาตมาภาพ เพื่่อเป็นแสงสว่างนำทางแห่งชีวิตเข้ามาสู่สถานที่ ปฏิบัติธรรม ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมแห่งนี้

พุทธลีลา

พระพุทธเจ้าทรงมีลีลา ซึ่งเรี่ยกในภาษาบาลีว่า "พุทธลีฬห" ในการทรงปฏิบัติหน้าที่ของพระอย่างไร เป็นที่เรื่องที่น่าพิจารณาศึกษาเป็นอย่างยิ่ง และเป็นเรื่องที่หากได้ศึกษาอย่างละเอียดถี่ถ้วนแล้ว ก็น่าจะเป็นประโยชน์ทั้งในแง่ความรู้ และในแง่ของการนำไปเป็นแบบอย่างได้

ธรรมะดัดสันดาน

หนังสือ" ธรรมะ ดัด สันดาน" โดยคุณ อมรา สินทวีวงศ์ เล่มนี้ได้เสนอวิธีการ และพยายามชักชวนชาวพุทธทั้งหลายให้หันมาสนใจการปฏิบัติวิปัสสนา กัมมัฎฐาน พร้อมกับได้ยกเอกประสบการณ์และความรู้สึกส่วนตัว มาเปิดอย่างกล้าหาญในมุมของความเห็นในมุมของความจำ และในมุมของความคิด

ประวัติส่วนตัว การจำพรรษา และการออกธุดงค์ของ พระอาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

พระอาจารย์เปลี่ยน นามสกุล วงษาจันทร์ เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2576 ตรงกับวันพฤหัสบดี ปีระกา ณ บ้านโคกดอน ต.โคกสี อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

เพื่อนนอก เพื่อนใน

.......ให้ความรักโดยไม่หวังอะไรตอบแทน คือ เขาจะรักหรือไม่รัก เรื่องของเขา แต่ว่าเราจะให้เราพอใจ กับการให้ แต่ไม่มีความต้องการในความรัก เพื่อแก้ความรู้สึกเปล่าเปลี่ยวหรือว่างเปล่าในใจของตัวเอง มีธรรมะ เป็นที่พึ่ง ความรักเป็นที่พึ่งไม่ได้ แต่ธรรมะเป็นที่พึ่งได้ ธรรมเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในชีวิตมนุษย์........

อริยทรัพย์ 7 อย่าง อบายมุข

หนังสือเล่มนี้จะเกิดขี้นได้ เพราะคนเราทั้งหลายส่วนมากยังไม่ได้ศึกษา ไม่เข้าใจในอริยทรัพย์ภายใต จะเข้าใจ แต่ทรัพย์ภายนอกจึงเป็นเหตุที่ทำให้เราปฏิบัติตนเองยังไม่สมบูรณ์ ในการดำรงวิถึชีวิต

ธรรมะเอกเขนก

ํธรรมะเอกเขนก เป็นนิทานธรรมะที่เรียบเรียงมาเล่าให้คุณผู้อ่านฟัง ประกอบด้วย 30 เรื่อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการอ่านหนังสือธรรมะในเบื้องต้นแ่ก่ผู้เริ่มสนใจธรรมะ....

มงคลชีวิต ฉบับ ทางก้าวหน้า

มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า เป็นหนังสือที่รวบรวมธรรมะเกี่ยวกับมงคล 38 ประการในพระพุทธศาสนา อันเริ่มต้นจากมงคลที่ 1 ไม่คบคนพาล มงคลที่ 2 คบบัณฑิต เรื่อยมาจนถึง มงคลที่ 38 จิตเกษม อันเป็นข้อธรรมะที่ปฏิบัติจากเรื่องพื้นฐานง่ายๆ ไปสู่เรื่องที่ละเอียดลึกซึ้ง เพื่อให้ผู้ศึกษาและปฏิบัติตามได้พบกับความเจริญก้าวหน้าไปตามลำดับ...

พระธรรมเทศนา

ธรรมเทศนา 4 วัน ในสวนสันติธรรม มีจุดตั้งต้นมาจากเมื่อครั้งที่ คุณสุเมธ โสฬศ อุปสมบทอยู่ และได้ไปฟังธรรมที่สวนสันติธรรมหลายครั้ง เมื่อลาสิกขาบท ก็ได้ชักชวนเพื่อนพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) หลายสิบคนให้ร่วมกันไปฟังธรรม.....

Buddhist Sects in India

This extraordinary book is the only authentic document of its kind. Beginning with a detailed and lucid exposition of the political background of India from Ajatasatru to Mahapadma nanda, it goes on to trace the sources of the Second Buddhist Council, to locate with unerring exactitude the disruptive forces in the Sangha and, in the fourth chapter, to classify the Sects. In the chapters that follow, the learned author deals with the Mahasanghikas, doctrines of Group II-V Schools.

English Translation of Khuddaka Nikaya

The Khuddaka Nikaya ("Minor Collection") is the last of the five nikayas, or collections, in the Sutta Pitaka, which is one of the "three baskets" that compose the Pali Tipitaka, the word of the Buddha. This nikaya consists of nineteen books on various topics attributed to the Buddha and his chief disciples. The Khuddaka Nikaya represent a stage in the development of the Pali Canon in which new material was not added any more to the rest of the Sutta Pitaka, but was added to a Khuddaka Pitaka instead.

English Translation of Angutara Nikaya

The Anguttara Nikaya (literally "Increased by One Collection", also translated "Gradual Collection" or "Numerical Discourses") is the fourth of the five Nikayas, or collections, in the Sutta Pitaka. This Nikaya consists of several thousand discourses ascribed to the Buddha and his chief disciples arranged in eleven books, according to the number of dhamma items referenced in them. The segments are short and easy to read, yet poignant in their messages. It contains many straightforward examples and even some inspiring words from the Buddha to his disciples.

English Translation of Samyutta Nikaya

The Samyutta Nikaya or "Connected Discourses" of the Buddha is the third great collection of the Buddha's discourses preserved in the Pali Canon -containing all of the important short suttas on such major topics as the Four Noble Truths, dependent origination, the five groups of grasping, the six sense faculties, the seven factors of awakening, and the Noble Eightfold Path. This complete study edition contains the unabridged Pali text in Roman characters.

The Origin of Buddhist Meditation

The historic authenticity of the early Buddhist sources is a much disputed topic. Although many modern scholars of Indian Buddhism are highly sceptical about the possibility of identifying and recovering authentic early teachings, this book maintains that such an objective is possible. Having identified early material that goes back to the Buddha himself, the author argues that the two teachers of the Buddha were historical figures.

The Life of Buddhism

Each of the essays in this collection is preceded by a brief
introduction. These introductions contextualize the Buddhist practice
being discussed in terms of important structures and dynamics of the
Buddhist tradition as a whole. These individual introductions are also
intended to augment the general introduction that follows.

In most cases, the main body of each essay has been lightly edited to
suit and facilitate the purposes of this collection. The basic format and
style of each essay has been left intact, but we have made minor adjust-

Philosophy of the Buddha

Philosophy of the Buddha is a philosophical introduction to the teaching of the Buddha. It carefully guides readers through the basic ideas and practices of the Buddha, including kamma (karma), rebirth, the not-self doctrine, the Four Noble Truths, the Eightfold Path, ethics, meditation, nonattachment, and Nibbana (Nirvana). The book includes an account of the life of the Buddha as well as comparisons of his teaching with practical and theoretical aspects of some Western philosophical outlooks, both ancient and modern.

An Introduction to Buddhist Ethics

This systematic introduction to Buddhist ethics is aimed at anyone interested in Buddhism, including students, scholars and general readers. Peter Harvey is the author of the acclaimed Introduction to Buddhism (Cambridge, 1990), and his new book is written in a clear style, assuming no prior knowledge. At the same time it develops a careful, probing analysis of the nature and practical dynamics of Buddhist ethics both in its unifying themes and in the particularities of different Buddhist traditions. The book applies Buddhist ethics

The Noble Eightfold Path

This book offers a clear, concise account of the Eightfold Path prescribed to uproot and eliminate the deep underlying cause of suffering—ignorance. Each step of the path is believed to cultivate wisdom through mental training, and includes an enlightened and peaceful middle path that avoids extremes. The theoretical as well as practical angles of each of the paths—right view, right intention, right speech, right action, right livelihood, right effort, right mindfulness, and right concentration—are illustrated through examples from contemporary life.

中国禅思想史

代表了当代中国禅宗研究最高水平的著作。葛兆光先生是当代中国屈指可数的宗教思想史研究专家,担任多个国外著名大学的客座讲授。本书重点探讨禅宗发端时期的思想发展,其中多有创见,是研究中国禅不可或缺的资料。

Buddhist Thought

The purpose of this book is straightforward. It is to serve as an
accessible guide for students wishing to reach as quickly as
possible a familiarity with the basic ideas of Buddhist
philosophical and religious thought, and the results of some of the
latest research in the field. A good understanding of the way
Buddhism developed in India is an essential prerequisite for any
appreciation of Buddhist ideas elsewhere, in Tibet, China, or Japan
and the other countries of East Asia.

The Vipassana-dipani

The purpose of Vipassana or the Exercise of Insight is to resolve into the three salient characteristics of Anicca, Dukkha and Anatta the illusory "Soul" (Atta) or imaginary "Self-principle" which from time out of mind has been held to exist in living beings by all Puthujjanas (ordinary unenlightened people) both Buddhist and non-Buddhist.

Pages